Milk Allergy vs Milk Intolerance
“แพ้นม ห้ามดื่มนมหรือผลิตภัณฑ์จากนม” ทุกคนต้องเคยได้ยินประโยคนี้เป็นแน่ แต่ท่านทราบหรือไม่ว่า แท้จริงแล้วนั้น ภาวะของการแพ้นม มี 2 ประเภท ได้แก่ Milk Allergy กับ Milk
“แพ้นม ห้ามดื่มนมหรือผลิตภัณฑ์จากนม” ทุกคนต้องเคยได้ยินประโยคนี้เป็นแน่ แต่ท่านทราบหรือไม่ว่า แท้จริงแล้วนั้น ภาวะของการแพ้นม มี 2 ประเภท ได้แก่ Milk Allergy กับ Milk
คนที่เป็นโรคไตหรือมีคนใกล้ชิดที่เป็นโรคไต ส่วนใหญ่น่าจะคุ้นเคยกับคำว่า ”ฟอสฟอรัส” จากแพทย์ นักกำหนดอาหาร นักโภชนาการหรือแม้กระทั่ง จากใบแสดงผลตรวจทางห้องปฏิบัติการกันมาบ้าง แต่เคยสงสัยไหมคะว่าไอเจ้าค่านี้มันคือค่าอะไร...
ไต คืออวัยวะที่มีหน้าที่กรองและดูดซึมสารอาหารต่างๆที่มีประโยชน์กลับเข้าสู่ร่างกาย รวมทั้งขับของเสียที่ร่างกายไม่ต้องการออกผ่านทางปัสสาวะ ในคนทั่วไป “ไต” จะสามารถทำหน้าที่ดังกล่าวได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 100% แต่ในผู้ป่วยโรคไตเสื่อมนั้น ไตของเขาจะไม่สามารถทำหน้าที่ได้ครบ 100%
ดัชนีน้ำตาล หรือ Glycemic Index บางคนอาจเรียกว่า ค่า GI เป็นตัวเลขที่บ่งบอกว่า อาหารชนิดนั้นสามารถทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้นได้มากน้อยเพียงใด หลังจากที่รับประทานเข้าไปแล้ว 2 ชั่วโมง โดยเทียบกับการรับประทานอาหารอ้างอิง ซึ่งก็คือน้ำตาลกลูโคส
ผลไม้ เป็นอาหารว่างที่มีคุณประโยชน์ อร่อย และเสริมสร้างพลังงานได้ดี แต่ใช่ว่าจะทานผลไม้ชนิดไหนอะไรก็ได้ ยิ่งในผู้ป่วยโรคไตยิ่งต้องระวัง เพราะนอกจากแร่ธาตุโซเดียมที่มีผลต่อไตแล้ว ยังมีแร่ธาตุอีกตัวที่สำคัญเช่นกัน คือ “แร่ธาตุโพแทสเซียม”
สงสัยมั้ยว่า....เวลานักโภชนาการหรือนักกำหนดอาหาร สอบถามประวัติการทานของผู้ป่วย ทำไมต้องซักถึงปริมาณการทานละเอียดจัง? แล้วเขารู้ได้อย่างไรว่าเรากินเยอะหรือน้อยเกินไป? เวลานักโภชนาการจะคำนวณหาพลังงานและสารอาหารที่เราควรได้รับในแต่ละวันนั้น มักจะใช้สูตรคำนวณเฉพาะเจาะจงตามสภาวะโรคของแต่ละคนค่ะ อีกทั้งต้องคำนึงถึงปัจจัยอื่นๆที่อาจส่งผลต่อระบบเมทาบอลิซึมในร่างกายด้วยค่ะ เช่น
เคยเป็นไหมคะที่ประสบปัญหากับการเข้าห้องน้ำครั้งละนานๆ..ขับถ่ายแต่ละทีก็แสนจะลำบากยากเย็น..หรือบางวันท้องไส้ไม่ค่อยดีต้องเข้าๆ-ออกๆห้องน้ำอยู่บ่อยๆ เกริ่นมาแบบนี้คงมีหลายๆคนพยัคหน้าตามหงึกๆ..โดยเฉพาะฝั่งที่ถ่ายยาก เพราะมันทั้งอึดอัดแล้วก็ทรมานเสียเหลือเกิน วันนี้โมดิชจึงอยากพาทุกๆท่านมารู้จักกับผู้ช่วยที่เป็นมิตรกับลำไส้และระบบขับถ่าย อย่างโพรไบโอติกและพรีไบโอติกกันค่ะ โพรไบโอติก โพรไบโอติก
ไขมันเป็นหนึ่งในสารอาหารหลักที่จำเป็นสำหรับร่างกาย ไขมันเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์ทุกเซลล์ นอกจากนี้แล้ววิตามินเอ ดี อี เค ก็ยังต้องใช้ไขมันในการดูดซึม ซึ่งความต้องการไขมันของคนทั่วไปจะอยู่ที่ประมาณ 25-35% ของความต้องการพลังงานทั้งหมดในหนึ่งวัน เมื่อร่างกายได้รับไขมันเข้าไปแล้วจะย่อยให้กลายเป็นกลีเซอรอลและกรดไขมัน ซึ่งกรดไขมันนี้เองที่มีส่วนสำคัญต่อสุขภาพร่างกาย โดยกรดไขมันสามารถแบ่งออกได้เป็น กรดไขมันอิ่มตัว