คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง และผู้ป่วยที่ไตเริ่มเสื่อม
ผู้ป่วย โรคไตเรื้อรัง ควรใส่ใจในเรื่องของการดูแลตัวเองมากเป็นพิเศษ ดังนั้นเราจึงมีคำแนะนำในการปฏิบัติตัวและการรับประทานอาหารมาฝาก
ผู้ป่วย โรคไตเรื้อรัง ควรใส่ใจในเรื่องของการดูแลตัวเองมากเป็นพิเศษ ดังนั้นเราจึงมีคำแนะนำในการปฏิบัติตัวและการรับประทานอาหารมาฝาก
อาหารผู้ป่วยโรคไต เป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยชะลอความเสื่อมของไตสำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคไตเรื้อรังหรือระยะสุดท้ายได้ ตั้งแต่ระยะ 3 ถึงระยะที่ 5 โดยการรับประทานอาหารที่ออกแบบมาให้เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยโรคไตควบคู่ไปกับการบำบัดด้วยยาและการฟอกเลือดด้วยไตเทียม เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารที่เพียงพอและลดอาการแทรกซ้อนของโรคต่างๆ ที่ตามมาด้วย โดยปกติแล้วไตจะทำหน้าที่กรองของเสียและโซเดียมออกมาผ่านทางปัสสาวะ หากไม่ควบคุมอาหารให้เหมาะสำหรับภาวะสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตจะทำให้ไตทำงานหนักและกำจัดของเสียออกจากร่างกายได้น้อยลง ซึ่งจะส่งผลให้อาการป่วยทวีความรุนแรงขึ้นและมีโรคแทรกซ้อนตามมาได้ ทำไมผู้ป่วยโรคไตต้องคุมอาหาร? เนื่องจากผู้ป่วยที่มีปัญหาไตเสื่อม จะมีประสิทธิภาพการทำงานของไตลดลง
อาหารเฉพาะโรค สามารถช่วยให้คนมีโรค สุขภาพดีได้ ด้วยเทคนิคกิน อาหารเฉพาะโรค ให้เหมาะกับสุขภาพ อาหารเฉพาะโรค เป็นอาหารที่ถูกปรับดัดแปลงทั้งชนิดของวัตถุดิบ วิธีการประกอบอาหาร พลังงานและสารอาหาร รวมถึงปริมาณแร่ธาตุต่างๆ ในอาหาร เพื่อให้เป็นอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการและเหมาะกับผู้ป่วยในแต่ละโรค ซึ่งอาการป่วยของแต่ละโรคนั้นจะมีข้อจำกัดในการได้รับสารอาหารที่แตกต่างกันออกไป เช่น
สำหรับผู้ป่วยโรคไต อาหารผู้ป่วยโรคไต เป็นสิ่งสำคัญที่ไม่ควรพลาด วันนี้เราจะพามารู้จัก อาหารผู้ป่วยโรคไต รับประทานอาหารอย่างไรให้ชีวิตดี อาหารผู้ป่วยโรคไตนั้นจำเป็นต้องกำหนดปริมาณโปรตีนให้เหมาะกับระยะของไต และต้องจำกัดแร่ธาตุโพแทสเซียม โซเดียม ฟอสฟอรัส เพื่อเป็นการช่วยลดภาวะแทรกซ้อนจากการมีเกลือแร่ผิดปกติและชะลอความเสื่อมของไตในขณะยังไม่ต้องได้รับการฟอกไต โรคไตเรื้อรัง (Chronic kidney disease)
การควบคุมอาหารโรคไต ทำไมการควบคุมอาหารโรคไตจึงมีความสำคัญอย่างมาก การควบคุมอาหารโรคไต ทำไมการควบคุมอาหารโรคไตจึงมีความสำคัญอย่างมาก
คนที่เป็นโรคไตหรือมีคนใกล้ชิดที่เป็นโรคไต ส่วนใหญ่น่าจะคุ้นเคยกับคำว่า ”ฟอสฟอรัส” จากแพทย์ นักกำหนดอาหาร นักโภชนาการหรือแม้กระทั่ง จากใบแสดงผลตรวจทางห้องปฏิบัติการกันมาบ้าง แต่เคยสงสัยไหมคะว่าไอเจ้าค่านี้มันคือค่าอะไร...
ไต คืออวัยวะที่มีหน้าที่กรองและดูดซึมสารอาหารต่างๆที่มีประโยชน์กลับเข้าสู่ร่างกาย รวมทั้งขับของเสียที่ร่างกายไม่ต้องการออกผ่านทางปัสสาวะ ในคนทั่วไป “ไต” จะสามารถทำหน้าที่ดังกล่าวได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 100% แต่ในผู้ป่วยโรคไตเสื่อมนั้น ไตของเขาจะไม่สามารถทำหน้าที่ได้ครบ 100%
ผลไม้ เป็นอาหารว่างที่มีคุณประโยชน์ อร่อย และเสริมสร้างพลังงานได้ดี แต่ใช่ว่าจะทานผลไม้ชนิดไหนอะไรก็ได้ ยิ่งในผู้ป่วยโรคไตยิ่งต้องระวัง เพราะนอกจากแร่ธาตุโซเดียมที่มีผลต่อไตแล้ว ยังมีแร่ธาตุอีกตัวที่สำคัญเช่นกัน คือ “แร่ธาตุโพแทสเซียม”